บทสวดพุทธคุณ ๑๐๐ ประการนี้ ปรากฎในพระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ อุบาลีวาทสูตร เรื่องมีอยู่ว่า สมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับ ณ ป่ามะม่วงของเศรษฐี
บทสวดพุทธคณ ๕๖ ประการ
พุทธคุณ ๕๖ คาถา ไม่ปรากฏแน่ชัดว่า ใครเป็นผู้แต่ง และแต่งขึ้นเมื่อใด แต่มีการระบุวิธีใช้และอานุภาพของพุทธคุณแต่ละคาถาเอาไว้อย่างชัดเจนทุกคาถา เช่น คาถาที่ ๓ มีระบุไว้ว่า
“ภาวนานึก สติตรองตรึก อย่าทำร้อนใจ สารพัดเมตตา
บทสวดพุทธคุณ ๙
บทสวดพุทธคุณ ๙ นี้ มีความพิเศษกว่าพุทธคุณบทอื่น เนื่องจากเป็นพุทธคุณที่พระพุทธเจ้าตรัสแสดงด้วยพระองค์เอง ซึ่งถือเป็นยอดธงคือที่สุดแห่งมนต์คาถาและบทสวดทั้งปวง
บทสวดพุทธคุณ ๓ ประการ
บทสวดพุทธคุณ ๓ นี้ เป็นบทสวดที่เบสิกที่ชาวพุทธทุกคนมีความคุ้นเคย ได้ยิน ได้ฟัง และได้สวดกันบ่อยที่สุด แทบจะกล่าวได้ว่าไม่มีชาวพุทธคนใดสวดบทนี้ไม่ได้ นั่นคือ บทสวดนมัสการพระพุทธเจ้า หรือบทนะโม ๓ จบ หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า บทปุพพภาคนมการ
๖ บทสวดมนต์รักษาโรค
๖ บทสวดมนต์รักษาโรค เพื่อสร้างบุญกุศลดลให้หายป่วยบทสวดนี้ ผู้ป่วยสามารถสวดเองก็ได้ หรือหากไม่สามารถสวดเองได้ ผู้อื่นสามารถให้ฟังได้ หรือประสงค์จะสวดให้กับผู้ป่วยที่อยู่ไกลเพื่อสร้างบุญกุศลหนุนส่งให้ผู้ป่วยหายป่วยก็ได้
บทสวดมนต์ พุทธบารมี
บทสวดมนต์ประจำวันก่อนนอน ด้วยบทพุทธบารมี เป็นบทสวดว่าด้วยบารมีที่พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญมาตลอด ๔ อสงไขย ๑ แสนมหากัป เพื่อเป็นฐานสู่การตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจำแนกไว้ ๓๐ ประการ แบ่งเป็นขั้นบารมี ๑๐ ประการ
บทสวดมนต์ สอนเจ้ากรรมนายเวร
บทสวดมนต์สอนเจ้ากรรมนายเวร บทสวดเพื่อปลดเปลี้องตนออกจากความอาฆาตพยาบาท ความโกรธแค้นชิงชัง ที่ตนมีต่อผู้อื่น และที่ผู้อื่นมีต่อตน
มหาสติปัฏฐานสูตร
ดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง
สติปัฏฐานสูตร
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นที่ไป
อันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ
บทสวดมนต์พิจารณาสภาวธรรม
รวมบทสวดมนต์พิเศษ หลังทำวัตรเช้า-เย็น เป็นสวดพิจารณาสภาวธรรม ฉบับแปล เพื่อให้ผู้สวดได้เข้าใจในบทสวดและพิจารณาหลักธรรมตาม