วิธีหลุดพ้นจากความตาย วิธีง่ายๆ ให้อยู่เหนือกรรม
และวิถีธรรมเพื่อความหลุดพ้นจากการเกิด
หนังสือเล่มนี้อธิบายถึงเรื่องความตาย สาเหตุที่ทำให้คนกลัวตาย วิธีที่จะชนะความตาย รวมไปถึงเรื่องกรรม การเกิดใหม่และสังสารวัฏ ไว้อย่างละเอียด ตลอดถึงมีการอธิบายเรื่องวิธีที่จะชนะความตายจนสิ้นสุดการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏได้อย่างถาวรด้วย ซึ่งนับว่าเป็นประโยชน์อันสูงสุด น่าเสียดายมากหากต้องพลาดการอ่านหนังสือเล่มนี้
———————————————
คลิกเพื่อดูตัวอย่างหนังสือ
———————————————
ปกรอง
ระดมธรรม นำสันติสุข
คำนำ
———————————————
**สารบัญ**
เหนือตาย
– ธรรมะเป็นเหมือนผ้าประเจีย
– ชาวพุทธต้องเชื่ออย่างมีเหตุผล
– แม้คำของพระพุทธองค์ ก็ห้ามเชื่อ หากยังไม่ได้พิจารณาจนเห็นจริง
– ความตาย ป้องกันได้ ด้วยการพิจารณาธรรม
– ป้องกันความตาย ทำได้ ๒ แบบ
– ป้องกันความตาย ต้องอาศัยธรรมะ
– “ธรรม” คำสั้นๆ แต่มหัศจรรย์ด้วยความหมาย
– “ธรรม” ความหมายที่ ๑ คือ ตัวธรรมชาติ หรือสภาวธรรม
– “ธรรม” ความหมายที่ ๒ คือ สัจธรรม หรือกฎของธรรมชาติ
– “ธรรม” ความหมายที่ ๓ คือ หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎของธรรมชาติ
– การปฏิบัติเพื่อนิพพาน เป็นหน้าที่ของมนุษย์
– ธรรมะที่แปลว่า “หน้าที่” มีความสำคัญกว่าคำแปลอื่นๆ
– จะปฏิบัติตามกฎของธรรมชาติได้ถูกต้อง ต้องรู้เรื่องธรรมชาติและกฎธรรมชาติ
– ความเป็นความตายของมนุษย์ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติหน้าที่ให้ถูกต้องตามกฎธรรมชาติ
– ทำหน้าที่ตามธรรมะ ชนะการตายด้วยโรคภัย
– เพราะทำผิดหน้าที่ตามธรรมชาติ จึงมักเจ็บป่วย
– จิตเศร้าหมอง กายเกิดโรค เพราะขาดธรรม
– ไม่รักษาด้วยธรรม จึงป่วยซ้ำซาก
– หากมีธรรมะ จะป่วยยาก หายง่าย
– เข้าถึงความจริงของธรรมชาติ แคล้วคลาดจากความตายเพราะโรคภัย
– ธรรมะเป็นเครื่องปะทะความตาย จากโรคภัยและการถูกฆ่า
– ธรรมะเป็นเครื่องป้องกัน ไม่ให้ตายก่อนสิ้นอายุ
– การปฏิบัติธรรมะ คือ การสร้างผ้าประเจียดคุ้มตาย
– เพราะยึดมั่นในร่างกาย ความตายจึงก่อทุกข์
– ต้องใช้สติปัญญา เพื่อละความยึดมั่นถือมั่น
– กิเลสเป็นเพียงผู้มาเยือน อย่ายึดมั่น
– ตัณหา อุปาทาน ผ่านมาเมื่อใด ความมีตัวตนก็เกิดขึ้นในใจเมื่อนั้น
– เมื่ออุปาทานเกิดขึ้น จึงมีตัวตน
– ไม่เผลอสติ กิเลสไม่เกิด
– ละความยึดมั่นในตัวตนได้ ความตายก็เป็นเรื่องน่าขัน
– เพราะมีกิเลส คนจึงหวาดหวั่นต่อความตาย
– เห็นโลกว่างจากความเป็นตัวตนเมื่อใด ใจก็พ้นทุกข์จากความตายเมื่อนั้น
– เมื่อเห็นโลกเป็นของว่าง จิตก็ไม่ยึดถือว่าเป็นตัวเรา ของเรา
– ไม่มีอุปาทาน เกิด-ตายก็เป็นเพียงมายา
– ทำประโยชน์โดยไม่ยึดถือสิ่งใด คือธรรมะสูงสุดของพระพุทธเจ้า
– เป็นชาวพุทธต้องรู้ธรรมะให้สมเกียรติ
– ผู้สว่าง หมายถึง สว่างด้วยความรู้ในธรรม
– ผู้มีความสะอาด สว่าง สงบ ครบทั้ง ๓ สามารถหัวเราะเยาะความตายได้
– ตัวเรา ของเรา ถูกดับไป ปัญหาเรื่องเกิด แก่ เจ็บ ตาย ก็สิ้นไป
– เบญจขันธ์ที่ปราศจากความยึดมั่นถือมั่น ย่อมอยู่เหนือความตาย
– จิตไม่มีอุปาทาน เป็นจิตที่สุขที่สุด
– ธรรมะกันตายมีจริง อย่างไม่มีทางคัดค้าน
– เร่งสร้างธรรมะเป็นที่พึ่งแก่ตน เพื่อพ้นทุกข์ดังพุทธประสงค์
ธรรมะสวัสดี : น้ำตาในมหาสมุทร โดย…ณัฐพันธ์ ปิ่นทวีเกียรติ
– นางปฏาจารา หญิงสาวผู้สูญเสีย
เหนือกรรม เหนือการเกิดใหม่
– กรรม การเกิดใหม่ และสังสารวัฏ
– เรื่องการเกิดใหม่ ฝรั่งสนใจมากที่สุด
– การเกิดใหม่ ไม่ใช่อวตาร
– ความรู้ผิดๆ มักสะกิดให้เกิดปัญหา
– กรรม การเกิดใหม่ และสังสารวัฏ ต้องศึกษาและปฏิบัติให้ถูกต้อง
– ความหมายของ “กรรม” ตามรูปศัพท์
– “กรรม” คือการกระทำด้วยเจตนาของกิเลสตัณหา
– ทำด้วยเจตนาดี = กรรมดี –> ผลดี
– ทำด้วยเจตนาชั่ว = กรรมชั่ว –> ผลชั่ว
– ทำกรรมด้วยกิเลสแบบไหน ก็ทุกข์ใจแบบนั้น
– เกิดเป็นเทวดา ก็มีทุกข์แบบเทวดา
– “กรรม” และ “กิริยา” มีความหมายต่างกัน
– เพราะไม่เชื่อว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว จึงทำอะไรมั่วๆ ตามใจชอบ
– “ดี” หรือ “ชั่ว” อยู่ที่การกระทำ
– ดี-ชั่ว คือผลกรรมที่แท้จริง ทรัพย์สินเงินทองเป็นเพียงผลพลอยได้
– ผลพลอยได้ก็มีดี-ชั่ว ตามการกระทำ
– “อริยมรรค” กรรมที่อยู่เหนือดี เหนือชั่ว
– อริยมรรค คืออาวุธทำลายกิเลสตัณหา
– หลักกรรมที่สมบูรณ์ มีสอนในพุทธศาสนาเท่านั้น
– กรรมมีมากมาย ต่างชิงชัยให้ผล
– เมื่อเข้าใจเรื่องกรรม ทำให้ละมิจฉาทิฏฐิได้
– “อริยมรรค” กรรมที่อยู่เหนือกฎการให้ผล
– กิเลสจะละเอียดหรือหยาบ ก็เป็นเครื่องเศร้าหมอง
– กิเลสดี น่ากลัวกว่า กิเลสชั่ว
– โลภ โกรธ หลง คือกิเลสต้นเหตุกรรม
– ดึงเข้า, ผลักออก, ลังเล คือลักษณะของกิเลส
– เพราะมีกิเลส จึงเป็นเหตุให้ประกอบกรรม
– กิเลสเป็นเหตุให้เกิด กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
– กิเลสเป็นเหตุให้ทำกรรมทั้งดีและชั่ว
– กิริยาคู่กับปฏิกิริยาฉันใด กรรมต้องคู่กับวิบากฉันนั้น
– “ชาติ” คือการเกิด ของความยึดมั่นว่าตัวกูของกู
– การเกิดของชาติใหม่ สัมพันธ์กับชาติก่อนเสมอ
– ระลึกชาติ คือการระลึกได้ว่า ทำอะไรด้วยความรู้สึกเป็นตัวกูของกู
– กรรมและผลกรรม มีความสัมพันธ์กับการเกิดใหม่
– “วัฏฏะ” คือ วงกลมแห่งกิเลส กรรม วิบาก
– กิเลส กรรม วิบาก เชื่อมโยงกันเป็นลูกโซ่ เรียกว่า “สังสารวัฏ”
– สังสารวัฏเห็นได้ทุกวัน แม้มิทันข้ามภพข้ามชาติ
– สังสารวัฏครอบงำทุกชีวิต ให้เป็นไปไม่จบสิ้น
– สังสารวัฏ เป็นอนัตตา อย่ายึดมั่น
– สังสารวัฏแม้เป็นอนัตตา แต่ว่าทำให้ทุกข์สุขได้
– ตัวกู ของกู สำคัญผิดปิดบังอนัตตา
– ปุถุชนทุกคนเต็มไปด้วย “อหังการ” “มมังการ”
– ต้องเป็นทาสกิเลส ด้วยเหตุหลงยึดอหังการ มมังการ
– ทำลาย “อหังการ” และ “มมังการ” ได้ ก็เข้าถึงจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
– ทำลายสังสารวัฏได้ คือที่สุดแห่งความไม่มีทุกข์
การปฏิบัติเพื่อความเป็น “พระโสดาบัน”
– หลักการเจริญมรณานุสสติเพื่อละสักกายทิฏฐิ
– หลักการเจริญพุทธานุสสติเพื่อละวิจิกิจฉา
– ประโยชน์ของการเจริญพุทธานุสสติ
– ๑) การเจริญพุทธานุสสติด้วยการสวดมนต์
– ๒) การเจริญพุทธานุสสติด้วยการทำสมาธิ
– ๓) การฝึกเจริญพุทธานุสสติในชีวิตประจำวัน
– หลักการรักษาศีลเพื่อละสีลัพพตปรามาส
สวดมนต์ก่อนนอน
๑. บทกราบพระรัตนตรัย
๒. บทนอบน้อมพระพุทธเจ้า
๓. บทไตรสรณคมน์
๔. บทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย (อิส๎วาสุ)
๕. บทพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง)
๖. บทชยปริตร (มหากาฯ)
๗. บทสัพพมงคลคาถา
๘. บทอิติปิโสเท่าอายุ + ๑
๙. บทอภิณหปัจจเวกขณะ
๑๐. บทเขมาเขมสรณทีปิกคาถา
๑๑. บทอุณหิสสวิชยคาถา
๑๒. บทแผ่เมตตาให้ตนเอง
๑๓. บทแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์
๑๔. บทแผ่ส่วนกุศล
“น้ำมะตูม” บำรุงสุขภาพ เพิ่มสมาธิ ลดความกำหนัด