,

คู่มือมนุษย์เล่ม ๘ พระอริยบุคคลกับการละกิเลส

Availability:

สินค้าหมดแล้ว


รหัส isbn 978-616-268-108-0
ขนาดสินค้า 14.5 x  21.0  เซ็นติเมตร
กระดาษใช้พิมพ์ ปอนด์
ความหนา 70  แกรม
น้ำหนัก 130  กรัม
สีหมึกพิมพ์ 4  สี
จำนวนหน้า 80  หน้า
ราคาปก 48  บาท

48฿

สินค้าหมดแล้ว

รายละเอียดเนื้อหาภายในประกอบด้วย
อริยบุคคลกับการละกิเลส
๑. “โลกุตตรภูมิ” คือ ภูมิเหนือโลก ตรงข้ามกับ “โลกียภูมิ” ทั้ง ๓
– จะเข้าใจโลกุตตรภูมิได้ง่าย ต้องเข้าใจเรื่องโลกียภูมิก่อน
– “โลกียภูมิ” ภูมิของจิตที่ยังพอใจในกาม รูปภพ อรูปภพ
– ภพกับภูมิมีความหมายต่างกัน ภพหมายถึงที่อยู่ ภูมิหมายถึงระดับของจิต
– ผู้มีจิตติดพันในกามและสมาบัติ ชื่อว่าตกอยู่ ใน “โลกียภูมิ”
– คนเราเปลี่ยนแปลงภพได้ทุกขณะ ตามสถานะหรือภูมิของจิต
– “โลกุตตรภูมิ” ภูมิของจิตที่อยู่เหนือกาม รูปภพ อรูปภพ
– พระพุทธศาสนาแบ่งโลกุตตรภูมิ เป็นมรรคผล ๔ ชั้น
– ผู้มีกายอยู่ ในโลก แต่ ใจพ้นจากโลก เรียกว่า ตั้งอยู่ ในโลกุตตรภูมิ
๒. “สังโยชน์ ๑๐” คือ กิเลสเครื่องผูกสัตว์ให้ติดโลก
– สังโยชน์มีอัดแน่นในตน แต่ไม่คิดค้นศึกษาเพราะไม่รู้
– สังโยชน์ข้อที่ ๑. “สักกายทิฏฐิ” ความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นตน เป็นของตน
– “สักกายทิฏฐิ” คือกิเลสตัวแรกที่ต้องรู้จัก และต้องละเพื่อเอาชนะโลก
– สังโยชน์ข้อที่ ๒. “วิจิกิจฉา” ความลังเลสงสัยเพราะไม่รู้แจ้งเห็นจริง
– คนคุ้นชินกับโลก จึงลังเลเรื่องเหนือโลก
– พิจารณาเห็นโทษของความลังเล ก็ละมันได้ง่าย
– สังโยชน์ข้อที่ ๓. “สีลัพพตปรามาส” การยึดถือศีลและข้อวัตรแบบผิดๆ
– ปฏิบัติแบบพุทธ แต่มีจุดมุ่งหมายอย่างไสยศาสตร์ จัดเป็นสีลัพพตปรามาสด้วย
– ปฏิบัติดี แต่ยึดถือแบบงมงาย ก็กลายเป็นสีลัพพตปรามาส
– แม้ทาน ศีล ภาวนา เพื่อหาสวรรค์ ก็จัดเป็นสีลัพพตปรามาส
– ถวายข้าวพระพุทธฯ จัดเป็นสีลัพพตปรามาส ๑๐๐ %
– เข้าใจเรื่องสีลัพพตปรามาสแล้ว ให้รีบเร่งละเสีย
๓. โลกุตตรภูมิอันดับที่ ๑ “พระโสดาบัน” ละสังโยชน์ ๓ ข้อแรกได้
– “พระโสดาบัน” คือ ผู้ถึงกระแสแรกแห่งพระนิพพาน
๔. โลกุตตรภูมิอันดับที่ ๒ “พระสกิทาคามี” ละสังโยชน์ ๓ กิเลสเบาบางกว่าพระโสดาบัน
– “พระสกิทาคามี” คือ ผู้ที่จะกลับมาเกิดอีกเพียงครั้งเดียว
๕. โลกุตตรภูมิอันดับที่ ๓ “พระอนาคามี” ละสังโยชน์ข้อที่ ๔ และ ๕ ได้
– สังโยชน์ข้อที่ ๔. “กามราคะ” ความพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส
– สังโยชน์ข้อที่ ๕. “ปฏิฆะ” ความโกรธ ความไม่พอใจ
– “พระอนาคามี” คือ ผู้ไม่กลับมาเกิดอีก
๖. โลกุตตรภูมิอันดับที่ ๔ “พระอรหันต์” ละสังโยชน์ได้ครบทั้ง ๑๐ ข้อ
– สังโยชน์ข้อที่ ๖. “รูปราคะ” ความหลงติดสุขในรูปฌาน
– หลงติดสุขในรูปฌาน ยากมากที่จะละ
– สังโยชน์ข้อที่ ๗. “อรูปราคะ” ความพอใจ ติดใจในความสุขจากอรูปฌาน
– พระอรหันต์ไม่หลงติดสุข เพราะมองเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
– ไม่เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงพาให้ติดใจในรสของฌาน
– สังโยชน์ข้อที่ ๘. “มานะ” ความสำคัญตัวว่าเป็นนั่น เป็นนี่
– ถ้าจิตใจอยู่เหนือดีชั่ว ความรู้สึกถือตัวถือตนจะไม่มี
– สังโยชน์ข้อที่ ๙. “อุทธัจจะ” ความฟุ้งซ่าน ความไม่สงบใจ
– คนธรรมดามีกิเลส จึงอดทึ่งต่อสิ่งต่างๆ ไม่ได้
– พระอรหันต์ ไม่มีความทึ่ง เพราะหมดกิเลสอย่างสิ้นเชิง
– สังโยชน์ข้อที่ ๑๐. “อวิชชา” ความไม่รู้ภาวะที่ปราศจากความรู้ รวมถึงกิเลสทั้งหมด
– “อวิชชา” คือความไม่รู้แจ้งในอริยสัจจ์ ๔
– “วิชชา” คือความรู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔
– “อวิชชา” เป็นเหตุให้เกิดทุกข์
– อวิชชาบังตา จึงไม่สามารถเอาชนะความทุกข์ได้
– ทำลายอวิชชาได้ เป็นพระอริยเจ้าขั้นสูงสุด
๗. พระอริยเจ้าทั้ง ๔ ประเภท อยู่เหนือโลก บรรลุ “โลกุตตรธรรม”
– เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ด้วยการเจริญวิปัสสนา ดับความอยากทั้งปวงได้ ถึง “โลกุตตรธรรม”
– “นิพพาน” คือสภาวะที่ปราศจากการเผาลนของกิเลส
– “นิพพาน” เป็นแดนที่ดับของสังขารทั้งปวง
– สิ้นทุกข์ สิ้นกิเลส เกษมจากโยคะ คือจุดหมายปลายทางของพุทธศาสนา
– ศึกษาให้รู้ให้เข้าใจและต้องปฏิบัติให้ได้ จึงจะได้ชื่อว่าเป็นพุทธบริษัทที่แท้จริง
แวะเล่าชาดก : น้ำบริสุทธิ์ (โดย ณัฐพันธ์ ปิ่นทวีเกียรติ)

SHOPPING CART

close

This will close in 20 seconds