,

คู่มือมนุษย์เล่ม ๗ บรรลุธรรมตามหลักวิชา

Availability:

สินค้าหมดแล้ว


รหัส isbn 978-616-268-018-2
ขนาดสินค้า 14.5 x  21.0  เซ็นติเมตร
กระดาษใช้พิมพ์ ปอนด์
ความหนา 70  แกรม
น้ำหนัก 130  กรัม
สีหมึกพิมพ์ 4  สี
จำนวนหน้า 80  หน้า
ราคาปก 48  บาท

48฿

สินค้าหมดแล้ว

รายละเอียดเนื้อหาภายในประกอบด้วย
**สมาธิและวิปัสสนา ตามหลักวิชาในรูปเทคนิค**
๑. ทบทวนเนื้อหาคู่มือมนุษย์ ๑-๖
๒. ความเป็นมาของวิปัสสนาในรูปแบบเทคนิค
– วิปัสสนาในรูปแบบเทคนิค มีไว้สำหรับผู้มีอุปนิสัยยังไม่แก่กล้า
– วิปัสสนา หรือ วิปัสสนาธุระ มีความหมายอย่างเดียวกัน
– วิปัสสนาธุระ หมายรวมถึงการรักษาศีล ทำสมถภาวนา และ วิปัสสนาภาวนา
๓. บาทฐานของวิปัสสนา คือ “ศีล” และ “สมาธิ”
– วิปัสสนาจะเกิดมีได้ ต้องอาศัยศีลและสมาธิเป็นฐาน
– ศีล เป็นส่วนหนึ่งของวิปัสสนา ถูกยกขึ้นเป็นอันดับแรกในวิสุทธิ ๗
– รักษากาย วาจา ไม่ ให้เกิดโทษ จึงชื่อว่ามีศีลบริบูรณ์
– รักษากาย วาจา ให้เป็นปรกติเพียงอย่างเดียว เท่ากับรักษาศีลได้ทั้งพระไตรปิฎก
– เมื่อมีศีลบริสุทธิ์ ย่อมส่งผลให้จิตสงบ ควรแก่การงาน
๔. ตัววิปัสสนา
วิปัสสนาตัวที่ ๑ “ทิฏฐิวิสุทธิ” ความเห็นถูกต้องตามความเป็นจริง
– ทุกคนมีความเห็นผิด ทั้งที่มีอยู่เองและถูกสร้างขึ้น
– รู้เห็นสิ่งต่างๆ อย่างมีเหตุผล ไม่หลงเชื่ออย่างงมงาย จึงชื่อว่ามี “ทิฏฐิวิสุทธิ”
– เมื่อมีทิฏฐิวิสุทธิ ก็เป็นผลให้เกิด “กังขาวิตรณวิสุทธิ” ต่อไป
วิปัสสนาตัวที่ ๒ “กังขาวิตรณวิสุทธิ” ความรู้ ความเข้าใจแจ่มแจ้งในเหตุปัจจัยของสิ่งทั้งปวง
– ความรู้แจ้งในเหตุปัจจัย ทำให้หมดความสงสัยและเพิกถอนตัวตนขั้นหยาบได้
วิปัสสนาตัวที่ ๓ “มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ” ความรู้แจ้งในทางปฏิบัติว่าอย่างไหนถูก-ผิด
– ๗ อุปสรรคของวิปัสสนาที่ต้องรู้และต้องละให้ได้
– อุปสรรคของวิปัสสนาที่รู้ได้ยากยิ่ง
วิปัสสนาตัวที่ ๔ “ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ” ความหมดจดแห่งความรู้ความเห็นในการปฏิบัติ
– ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ๙ ลำดับ หรือ วิปัสสนาญาณ ๙
– เมื่อวิปัสสนาญาณทั้ง ๙ ลำดับ มีพร้อมสมบูรณ์แล้ว ปัญญาหรือความรู้แจ้งสำหรับตัดกิเลสจึงปรากฏ
วิปัสสนาตัวที่ ๕ “ญาณทัสสนวิสุทธิ” ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ
สรุป ตัววิปัสสนามี ๕ รวมบาทฐานเป็น ๗
วิปัสสนาเป็นเรื่องสำคัญ ถ้าไม่ปฏิบัติตาม ไม่สามารถพ้นทุกข์ได้
๕. สรุปหลักแห่งการศึกษาเรื่องวิปัสสนาในรูปเทคนิค
Dhamma Jigsaw : ธรรมะจิ๊กซอว์
แวะเล่าชาดก : สาธุศีลชาดก ว่าด้วยคู่ครองในอุดมคติ
ธรรมะสวัสดี : ประโยชน์สูงสุด
“ความสุข” จากการเจริญสติด้วย “พุทโธ” ในชีวิตประจำวัน
รู้ทันทุกข์แล้วไม่ทุกข์

SHOPPING CART

close